Learned five times.
บันทึกการเรียน ครั้งที่ 5
1. The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)
-ทำกิจกรรมเกมทายใจนักมายากลระดับโลก
ตอบคำถามตามความรู้สึกของเราจากนั้นฟังที่ครูเฉลย
-กิจกรรมนักออกแบบอาคาร
โดยมีอุปกรณ์ให้ 2 อย่าง คือไม้จิ้มฟันเเละดินน้ำมัน จากนั้นจับกุ่ม 3 คน
จะทำการต่อเเละเเข่งว่าใครจะต่อได้สูงที่สดทั้งหมด 3 ครั้ง โดยครั้งเเรกห้ามพูดคุยกัน
ครั้งที่ 2 ให้ 2 คนทำได้เเต่ห้ามพูด อีกคนนึงพูดเเต่ห้ามทำ
ครั้งสุดท้ายให้ช่วยกันทั้ง 3 คนพูดคุยปรึกษากันได้
โดยการต่อในเเต่ละครั้งก็จะใช้ไม้บรรทัดวัดว่าได้ความสูงเท่าไหร่เเละในครั้งต่อๆไปพัฒนาเพิ่มขึ้นหรือไม่
*เนื้อหาที่เรียนในใบงาน
-การเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การเล่น คือ
1.กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
2.ทำให้เด็กเกิดความสนุกเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย
3.ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม
-แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น
Piaget กล่าวถึงพัฒนาการการเล่นของเด็กว่ามี 3 ขั้น ดังนี้
1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play)
3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play)
-ประเภทของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
1.การเล่นกลางแจ้ง
2.การเล่นในร่ม
-หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
1.ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
2.ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
3.มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
4.มีการสรุปท้ายกิจกรรม
-กิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ
ให้ไม้เสียบลูกชิ้นกลุ่มละ 1 อัน กับกระดาษกลุ่มละ 1 แผ่น
จากนั้นพับให้เป็นเรือทำวิธีไหนก็ได้ให้เรือสามารถบรรทุกไข่ให้ได้ทั้งหมด 20ใบ โดยไม่จม
2.From what has been learned.(สิ่งที่ได้รับจากการเรียนรู้)
-ได้ฝึกความมีสมาธิอยู่กับที่ที่ทำอยู่
-ได้ฝึกการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
-ได้ฝึกการรับฟงความคิดเห็นของผู้อื่น
-ได้ฝึกการทำงานอย่างเป็นระบบ
-มีความคิดส้รางสรรค์จินตนาการ
-ฝึกความสามัคคีในกลุ่มตนเอง
3. assessment (ประเมิน)
-ตัวเอง เเต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
-เพื่อน เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อย ตอบคำถามในห้องอย่างสนุกสนาน
ทุกคนมีส่วนร่วมกับการเรียน
-ห้องเรียน ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย มีอุกรณ์ในห้องที่ครบถ้วนสมบูรณ์
-อาจารย์ แต่งกายสุภาพ สอนได้ละเอียด บรรยายในเนื้อหาให้นักศึกษาฟังได้อย่างครบถ้วนเเละเข้าใจ
ง่าย สอดแทรกเพลงเข้ามาสอนทำให้รู้สึกสนุกไปกับการเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น